บทความ

System Leadership and School Leadership

System Leadership and School Leadership Gurr, David; Drysdale, Lawrie Research in Educational Administration & Leadership, v3 n2 p207-229 Dec 2018 This article describes research on system and school leadership from three perspectives. At the system level, leadership was evident at the senior levels of the central and regional systems, with principal network leaders having potential to exercise occasional leadership. Principals tended not to operate as system leaders because they had limited influence across multiple schools. At a regional level, it was clear that directors acted as system level leaders, exerting wide influence on clusters of schools to improve. At a school level, the work of the principal, other school leaders, and critical friends was more important to the improvement journey of the school than system leadership. It seems that whilst system leadership can be important, it needs to work in conjunction with school leadership to maximize influence on school success

การรายงานผลการเรียนผ่านโปรแกรม Schoolmis

รูปภาพ

สรุปการเรียน ตรีโกณมิติ ม.ต้น

รูปภาพ
 

Leadership during Change

Leadership during Change Miller, Mischel Educational Considerations, v46 n2 Article 5 2020 The national education system, similar to the Kansas education system, has seen little change since the 1800s(Throckmorton, 1967). In fact, over 50 years later, there have been few changes. Children come to school around the age of five to enter kindergarten and then move through the current system by age and grade level. These children sit in rows, are addressed by the expert teacher, are given information, and are expected to memorize and regurgitate the material in a standardized testing process. Schools in Kansas predominately open their doors in August and close in May (KSDE, 2018), perpetuating the long history of an educational system that spans almost 200 years. Moving a school system away from that dynamic is hard, and it is wrought with human challenges. What change needs to occur to meet the economic needs of the future? One major challenge to creating new learning environments is the

การรายงานผลการเรียนผ่านโปรแกรม Schoolmis

รูปภาพ
  การรายงานผลการเรียนผ่านโปรแกรม Schoolmis ตามที่ สพฐ . ได้กำหนดให้โรงเรียนสังกัด สพป. รวมถึงโรงเรียนขยายโอกาส และ โรงเรียน สังกัดสำนักงานการศึกษาพิเศษ ให้ทำการบันทึกผลการเรียนประจำปีการศึกษา เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษา  ผ่านโปรแกรมเว็บแอพพลิเคชั่น   โปรแกรมบริหาร สถานศึกษา( SchoolMIS) ซึ่งโปรแกรมดังกล่าวใช้บันทึกผลการเรียน มีความสะดวกให้โรงเรียนในการออกเอกสารหลักฐานการศึกษา ได้แก่ ปพ.1 , ปพ.2 , ปพ.3 , ปพ .6 และ ปพ.7 เพื่อลดภาระงานของโรงเรียนที่จะต้องใช้งานโปรแกรมอื่น ๆ เนื่องจากโปรแกรมบริหารสถานศึกษา( SchoolMIS)  เป็นโปรแกรมเว็บแอพพลิเคชั่น การ ทำงานผ่านระบบอินเตอร์เน็ต โดยอาศัยบราวส์เซอร์  ดังนั้นเพื่อให้การทำงานได้ผลดีที่สุด เช่น แก้ไข ปัญหาการเปิดไฟล์ PDF ได้ดี เข้าโปรแกรมเห็นปุ่มทำงานๆต่างๆครบถ้วน จึงขอแนะนำให้ทำการ ดาวน์โหลดและติดตั้งบราวส์เซอร์ Firefox เวอร์ชั่นล่าสุดมาใช้งาน  โดยสามารถดาวน์โหลดฟรีได้ที่  https://www.mozilla.org/en-US/firefox/new/ หลังจากติดตั้งบราวส์เซอร์ Firefox เวอร์ชั่น ล่าสุดแล้ว ให้เข้าส่เว็บหลัก โดยพิมพ์ url ไปที่  http://schoomis.obec.expert ขั้นตอนการกรอกผล

ประสิทธิผลการบริหารจัดการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร

    ประสิทธิผลการบริหารจัดการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร Article Sidebar Published: Jul 3 , 2017 Keywords: ประสิทธิผล , การบริหารจัดการ , การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) , Effectiveness, Management, Non-Formal and Informal Education (NFE) Main Article Content พรชัย อรัณยกานนท์   คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยทองสุข พรจิต อรัณยกานนท์   คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยทองสุข Abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาประสิทธิผลการบริหารจัดการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) (2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลการบริหารจัดการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) จำแนกตามปัจจัยภูมิหลัง และ (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการสถานศึกษากับประสิทธิผลการบริหารจัดการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ประชากรการวิจัย คือ นักศึกษาของ กศน. เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ในปี พ.ศ.2559 จำนวน 496 คน ขนาดตัวอย่างทั้งสิ้น 220 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข

กลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษากึ่งสงเคราะห์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดตาก (THE ADMINISTRATIVE STRATEGY FOR SEMI-WELFARE EDUCATION OF BASIC SCHOOLS IN TAK PROVINCE)

  กลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษากึ่งสงเคราะห์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดตาก ( THE ADMINISTRATIVE STRATEGY FOR SEMI-WELFARE EDUCATION OF BASIC SCHOOLS IN TAK PROVINCE) Article Sidebar Published:  Mar 26, 2019 Keywords: Administrative Strategy, Semi-welfare Education, กลยุทธ์การบริหารจัดการ , การศึกษากึ่งสงเคราะห์ Main Article Content สรวิชญ์ เรือนแก้ว ( Sorawith Rueankeaw) มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ( Kamphaeng Phet Rajabhat University) สุนทรี ดวงทิพย์ ( Soontaree Doungtipya) มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ( Kamphaeng Phet Rajabhat University) Abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากลยุทธ์การบริหารการจัดการศึกษากึ่งสงเคราะห์ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดตาก วิธีดำเนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาสภาพ ปัญหา และปัจจัย 2) ศึกษากลยุทธ์ที่ประสบความสำเร็จ 3) พัฒนากลยุทธ์ และ 4) ทดลองใช้และประเมินกลยุทธ์ วิธีการวิจัย โดยใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การวิเคราะห์เอกสาร การประชุม เชิงปฏิบัติการ การสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ การทดลองใช้กลยุทธ์ การสนท